ARRAY
การประกาศ array
จะมี3 ส่วนคือ
1.int x[];
เป็นการประกาศตัวแปรที่เป็นจำนวนเต็ม
2.ตัวแปร = new
ชนิดของข้อมูล [n];
3.ตัวแปร [n] = ค่าของเลข;โดยที่ค่าของตัวแปรจะเริ่มจาก 0
ส่วน array 2มิตินั้น
ตัวแปร = new ชนิดของข้อมูล [n][m]; เป็นการกำหนดความกว้างของ Arrayตัวแปร [n][m] = ค่าของเลข; เป็นการใส่ค่าให้ตัวแปร
Loopคือการทำงานคำสั่งซ้ำๆของข้อมูลสูตรที่ไปของมันคือ
for( i = n; i < m; i ++){คำสั่งที่อยากให้ทำ;}
n = จุดเริ่มต้นของข้อมูล
m = จุดสุดท้ายของข้อมูลi
++ คือการเพิ่มลำดับข้อมูลทีละ
1i -- คือการลดลำดับข้อมูลทีละ 1
ตัวอย่างcode arrayhttp://www.uploadtoday.com/download/?3d5082079c816b4469c203e11e613c8c
วันอาทิตย์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2550
week6
Java switch
นอกจากif else แล้วยัง มีอีกคำสั่งนึงที่เหมาะกับตัวเลขมากๆซึ่งหากใช้if elseจะทำให้codeยาวจนเกินไป
เราจึงใช้ switch caseซึ่งเหมาะสะดวกและใช้ง่ายกว่าทำงานได้หลากหลายกว่า
switch(x/10){
case 0:;
case 1:;
case 2:;
case 3:;
case 4:System.out.println("You're failed!!");break;
case 5:System.out.println("You're grade is D.");break;
case 6:System.out.println("You're grade is C.");break;
case 7:System.out.println("You're grade is B.");break;
case 8:;
case 9:;
case 10:System.out.println("You're grade is A. Nice grade!!");break;}
ในกรณีนี้เป็นการใส่คะแนนเพื่อหาเกรด โดยถ้าคะแนนอยู่ในระดับ 80-100 จะได้เกรด A
ถ้าคะแนนอยู่ในระดับ 70-79 จะได้เกรด B
ถ้าคะแนนอยู่ในระดับ 69-60 จะได้เกรด C
ถ้าคะแนนอยู่ในระดับ 59-50 จะได้เกรด D
และน้อยกว่านั้นคือตก
จะสังเกตว่าต้องใส่breakทุกครั้งเพื่อจบคำสั่งcaseนั้นหากไม่ใส่มันจะrunคำสั่งอื่นปนด้วยเช่น
ได้92 คะแนน จะrun B C D ซึ่งเป็นเกรดที่ไม่ตรงตามเป็นจริง
code http://www.uploadtoday.com/download/?3d3a21508e257048d7b6fd8c92a25d0b
นอกจากif else แล้วยัง มีอีกคำสั่งนึงที่เหมาะกับตัวเลขมากๆซึ่งหากใช้if elseจะทำให้codeยาวจนเกินไป
เราจึงใช้ switch caseซึ่งเหมาะสะดวกและใช้ง่ายกว่าทำงานได้หลากหลายกว่า
switch(x/10){
case 0:;
case 1:;
case 2:;
case 3:;
case 4:System.out.println("You're failed!!");break;
case 5:System.out.println("You're grade is D.");break;
case 6:System.out.println("You're grade is C.");break;
case 7:System.out.println("You're grade is B.");break;
case 8:;
case 9:;
case 10:System.out.println("You're grade is A. Nice grade!!");break;}
ในกรณีนี้เป็นการใส่คะแนนเพื่อหาเกรด โดยถ้าคะแนนอยู่ในระดับ 80-100 จะได้เกรด A
ถ้าคะแนนอยู่ในระดับ 70-79 จะได้เกรด B
ถ้าคะแนนอยู่ในระดับ 69-60 จะได้เกรด C
ถ้าคะแนนอยู่ในระดับ 59-50 จะได้เกรด D
และน้อยกว่านั้นคือตก
จะสังเกตว่าต้องใส่breakทุกครั้งเพื่อจบคำสั่งcaseนั้นหากไม่ใส่มันจะrunคำสั่งอื่นปนด้วยเช่น
ได้92 คะแนน จะrun B C D ซึ่งเป็นเกรดที่ไม่ตรงตามเป็นจริง
code http://www.uploadtoday.com/download/?3d3a21508e257048d7b6fd8c92a25d0b
week4
Import java .util.*;
เป็นcodeอ้างอิง ที่อยู่ของfunction scanner
Scanner v = new Scanner(System.in);
เป็น code ประกาศตัวแปรซึ่งรับข้อมูลจากคีบอด เราสามารถกำหนดตัวแปรเองได้เช่น ในcodeนี้คือ v
float v;
เป็นcodeนี้เพื่อเปลี่ยนตัวแปรเป็นเลขทศนิยม เราสามารถนำตัวแปรไปใช้ในสมการต่างๆ เพื่อให้ผู้ใช้ใส่ตัวเลขเองได้
v = x.nextFloat();
เป็นcode บอกเปิดรับข้อมูลจากkeyboardเมื่อrunโปรแกรมแล้ว *ข้อมูลที่runต่อได้ไม่errorต้องเป็นทศนิยมเท่านั้น*
code ที่นี่ http://www.uploadtoday.com/download/?3d1ea1e9a5b40a88097460084ff54c0f
เป็นcodeอ้างอิง ที่อยู่ของfunction scanner
Scanner v = new Scanner(System.in);
เป็น code ประกาศตัวแปรซึ่งรับข้อมูลจากคีบอด เราสามารถกำหนดตัวแปรเองได้เช่น ในcodeนี้คือ v
float v;
เป็นcodeนี้เพื่อเปลี่ยนตัวแปรเป็นเลขทศนิยม เราสามารถนำตัวแปรไปใช้ในสมการต่างๆ เพื่อให้ผู้ใช้ใส่ตัวเลขเองได้
v = x.nextFloat();
เป็นcode บอกเปิดรับข้อมูลจากkeyboardเมื่อrunโปรแกรมแล้ว *ข้อมูลที่runต่อได้ไม่errorต้องเป็นทศนิยมเท่านั้น*
code ที่นี่ http://www.uploadtoday.com/download/?3d1ea1e9a5b40a88097460084ff54c0f
week5
ประโยคเงื่อนไข
เครื่องหมายในภาษา Javaเครื่องหมายที่ใช้กับประโยคเงื่อนไขใน Java ทั้งหมด
ซึ่งเราจะใช้เป็นcode เครื่องหมาย
< น้อยกว่า
> มากกว่า
== เท่ากับ
<= น้อยกว่าหรือเท่ากับ
>= มากกว่าหรือเท่ากับ
!= ไม่เท่ากับ
if (a)
System.out.print("true");
คำสั่งนี้ifตามด้วยตัวแปรถ้าaเป็นจริง จะรันว่า "true"
else
เป็นคำสั่งที่รันรองลงมาต่อจาก if หากifไม่เป็นจริงelseจะrunแทนเช่น
if (a) {
System.out.println("cool");
else
System.out.println("Error ");
คำสั่งจะrun ว่า "error"
เครื่องหมายในภาษา Javaเครื่องหมายที่ใช้กับประโยคเงื่อนไขใน Java ทั้งหมด
ซึ่งเราจะใช้เป็นcode เครื่องหมาย
< น้อยกว่า
> มากกว่า
== เท่ากับ
<= น้อยกว่าหรือเท่ากับ
>= มากกว่าหรือเท่ากับ
!= ไม่เท่ากับ
if (a)
System.out.print("true");
คำสั่งนี้ifตามด้วยตัวแปรถ้าaเป็นจริง จะรันว่า "true"
else
เป็นคำสั่งที่รันรองลงมาต่อจาก if หากifไม่เป็นจริงelseจะrunแทนเช่น
if (a) {
System.out.println("cool");
else
System.out.println("Error ");
คำสั่งจะrun ว่า "error"
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)